นวัตกรรมน้ำยาง ParaFIT (พาราฟิต) จากนักวิจัยเอ็มเทค สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช. ) ทำให้ได้วัตถุดิบหลักในการแปรรูปสู่ผลิตภัณฑ์ทั้งผลิตหมอนและที่นอนยางพาราที่มีคุณภาพ โดยสามารถทดแทนการใช้น้ำยางพาราข้น ส่งผลดีต่อการบ่มน้ำยางก่อนนำไปใช้งานเหลือเพียง 3 วัน ส่วนยางพาราข้นต้องใช้เวลาบ่มนานถึง 21 วัน ถือเป็นนวัตกรรมที่ช่วยตอบโจทย์ผู้ผลิตสินค้าแปรรูปจากยางพาราและเป็นนวัตกรรมระดับประเทศ "ปิยะดา สุวรรณดิษฐากุล" ผู้ช่วยวิจัยอาวุโส ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช. เปิดเผยว่า กลุ่มทำยางเอ็มเทค สวทช. ได้มีการทำวิจัยยางและการรักษาสภาพน้ำยางมาเป็นระยะเวลาร่วม 20 ปีแล้ว และล่าสุดได้พัฒนานวัตกรรม "น้ำยาง ParaFIT (พาราฟิต)" น้ำยางพาราข้นชนิดใหม่สำหรับการผลิตหมอนและที่นอนยางพาราโดยเฉพาะ ถือเป็นนวัตกรรมที่ยังไม่เคยมีมาก่อนในไทย ที่ผ่านมาเกษตรกรไทยเมื่อมีการกรีดน้ำยางพาราสดสู่น้ำยางข้นจะต้องใช้ระยะเวลาในการบ่มนานร่วม 21 วันกว่าจะได้น้ำยางข้น แต่เมื่อมีงานวิจัยของเอ็มเทค สวทช.

  1. Latex Pillows And Mattresses (หมอนและที่นอนยางพาราแท้)
  2. ParaFIT (พาราฟิต) น้ำยางพาราข้นสำหรับการผลิตหมอนและที่นอนยางพารา • MTEC A Member Of NSTDA
  3. 'เอ็มเทค' วิจัยน้ำยางข้นสูตรใหม่ ลดสารแอมโมเนีย ใช้ผลิตหมอน-ที่นอน

Latex Pillows And Mattresses (หมอนและที่นอนยางพาราแท้)

ปิยะธิดายังกล่าวถึงจุดเริ่มต้นของการทำหมอนและที่นอนยางพาราว่า เริ่มจากสหกรณ์แพรกหา จ. พัทลุง ซึ่งเป็นสหกรณ์ที่เกษตรกรชาวสวนยางรวมตัวกันผลิตภัณฑ์หมอนยางพาราเหมือนที่ จ. บึงกาฬ ซึ่งเดิมรับน้ำยางข้นจากโรงงานมาทำหมอน จากนั้นสมาชิกสหกรณ์จึงมีแนวคิดว่า ทำไมไม่ผลิตเอง เพราะต่างก็มีสวนยางอยู่แล้ว จึงกู้เงินเพื่อทำโรงงานน้ำยางข้นเอง และนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์โฟมยาง ทำให้ไม่ต้องเสียค่าการตลาด สามารถลดต้นทุนได้ส่วนหนึ่ง จากนั้นกลุ่มสหกรณ์ก็ติดต่อมาที่ ผอ. ศูนย์วิจัยของเราเพื่อขอให้นักวิจัยลงไปช่วย "เราจะสอน 1. การแปรรูปน้ำยางสดเป็นน้ำยางข้น 2. ทดสอบน้ำยางสดและน้ำยางข้น ว่ามีคุณสมบัติอะไรบ้าง นี่คือขั้นต้นที่ยังไม่ได้ปรับเปลี่ยนอะไร เพียงแค่สอนให้รู้ขั้นตอน แต่เรามีการวิจัยสารรักษาสภาพน้ำยางอยู่แล้ว จึงไปขอลองปั่นโฟมยางเป็นหม้อ แบบชาวบ้าน ไม่ได้ใช้เทคโนโลยี ว่าจะสามารถเป็นผลิตภัณฑ์โฟมได้หรือไม่ ระหว่างที่ปั่นหม้อก็มองเห็นว่า 1. เขาต้องการเอาน้ำยางมาลดปริมาณแอมโมเนีย ก่อนจะเอาไปใส่สารเคมีเพื่อทำหมอน 2. ถ้าวันไหนที่อุณหภูมิภายนอกสูงต่ำไม่เท่ากันก็จะเกิดปัญหาเรื่องกระบวนการผลิต เพราะแต่ละวันปริมาณแอมโมเนียจะระเหยได้ไม่เท่ากัน จึงส่งผลต่อกระบวนการผลิต ซึ่งจากที่ได้คุยกับผู้จัดการสหกรณ์ เขาบอกว่าขนาดโรงงานเล็กๆยังต้องสต๊อกน้ำยางเพื่อให้พอการผลิตต้องใช้เงิน 3 ล้านในการหมุนเวียน เพราะการผลิตน้ำยางข้นไม่สามารถใช้ได้เลยต้องบ่มไว้ 21 ซึ่งต้องใช้พื้นที่สำหรับเก็บน้ำยางข้น ถ้าหากวันไหนน้ำยางมากเกิน แท็งก์ที่เก็บเต็มก็ต้องมีภาระในการระบายน้ำยางด้วยการหาที่รับซื้อ" น.

  • ประวัติสหกรณ์
  • ผลิตไม่ทันขาย! นวัตกรรม ParaFIT แปรรูป “หมอน-ที่นอนยางพารา” สร้างรายสหกรณ์บ้านแพรกหาฯ | สยามรัฐ | LINE TODAY
  • Music festival พัทยา
  • ชาวพัทลุงแก้วิกฤต ราคายางตก..แปรรูปน้ำยางทำหมอนยางพาราเพื่อสุขภาพ

980-2552 และ ISO 2004-2017) กระทั่งได้สูตรน้ำยาง ParaFIT ซึ่งมีปริมาณแอมโมเนียต่ำกวา 0. 20% โดยน้ำหนักน้ำยาง (น้ำยางพาราขนทางการคามีปริมาณแอมโมเนีย 0. 3-0. 7% โดยน้ำหนักน้ำยาง) ช่วยให้ระยะเวลาการบมน้ำยางพาราขนลดลง กอนนำไปใช้เป็นวัตถุดิบในการทำผลิตภัณฑยาง ทำให้ไมตองมีขั้นตอนการกำจัดแอมโมเนียออกจากน้ำยางพาราขนกอนนำไปผลิตหมอนและที่นอนยางพารา จึงช่วยลดปริมาณของเสียในกระบวนการผลิต ลดกลิ่นฉุนของแอมโมเนียในโรงงาน เปนมิตรตอคนและสิ่งแวดลอม นายอนันต์ จันทร์รัตน์ ผู้จัดการสหกรณ์การเกษตรบ้านแพรกหา จำกัด เปิดเผยว่า เมื่อต้นปี 2560 สหกรณ์การเกษตรบ้านแพรกหา จำกัด ได้เริ่มดำเนินการผลิตและแปรรูปหมอนจากน้ำยางข้น 60% ที่ซื้อมาจากบริษัทเอกชน แต่ยังประสบปัญหาขาดทุน ต่อมาช่วงกลางปี 2560 ทีมวิจัยเอ็มเทค สวทช.

ParaFIT (พาราฟิต) น้ำยางพาราข้นสำหรับการผลิตหมอนและที่นอนยางพารา • MTEC A Member Of NSTDA

ควนขนุน จ.

หมอน ยางพารา แพรก หา port

เอ็มเทค-สวทช. พัฒนาน้ำยางข้น 'ParaFIT' ทดสอบและถ่ายทอดให้กับสหกรณ์การเกษตรบ้านแพรกหาฯช่วยผู้ประกอบการ 'ตะลุงลาเท็กซ์' ผลิตหมอนยางพาราคุณภาพสูง รุ่น 'เปี่ยมสุข' สร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรชาวสวนยาง เกาะติดข่าว กดติดตาม ข่าวสด เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2562 อ. ควนขนุน จ. พัทลุง สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช. ) นำโดย ดร. จุลเทพ ขจรไชยกูล ผู้อำนวยการ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช. นางกุลประภา นาวานุเคราะห์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ สวทช. พร้อมทีมนักวิจัยเอ็มเทค สวทช. นำคณะสื่อมวลชนลงพื้นที่เยี่ยมชมสหกรณ์การเกษตรบ้านแพรกหา จำกัด อ. พัทลุง โดยมี นายขจรศักดิ์ เจริญโสภา รองผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง นายสมศักดิ์ บุญโยม รักษาราชการแทนสหกรณ์จังหวัดพัทลุง ผู้แทนกรมส่งเสริมสหกรณ์ เข้าร่วมเยี่ยมชมกระบวนการผลิตน้ำยางข้นพาราฟิต ParaFIT เพื่อใช้ แปรรูปเป็นหมอนและที่นอนยางพาราที่ได้คุณภาพจากฝีมือเกษตรกรชาวสวนยาง จ. พัทลุง ทั้งนี้มีคณะกรรมการ เจ้าหน้าที่ พร้อมสมาชิกสหกรณ์การเกษตรบ้านแพรกหา จำกัด ให้การต้อนรับ ดร.

Skip to content เกษตรกร จ.

'เอ็มเทค' วิจัยน้ำยางข้นสูตรใหม่ ลดสารแอมโมเนีย ใช้ผลิตหมอน-ที่นอน

สหกรณ์การเกษตรบ้านแพรกหา จำกัด เลขที่ 179 หมู่ 2 ตำบลแพรกหา อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง 93110 โทร. 074-610731 โทรสาร 074-610731 e-mail: Banprakha@gmail Back to Top © 2022 สหกรณ์การเกษตรแพรกหา จำกัด

หมอน ยางพารา แพรก หา งาน
แพรกหา อ. ควนขนุน จ. พัทลุง 93110 ติดต่อประสานงาน ฝ่ายกิจการระหว่างประเทศและส่งเสริมธุรกิจการค้า สันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย 13 ถนนพิชัย แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทร 02-6693254-63 ต่อ 1026 นางสาวฟ้าขวัญ ขวัญเมือง เจ้าหน้าที่ส่งเสริมธุรกิจการค้า โทรศัพท์ 094-2690450 สหกรณ์การเกษตรแพรกหา จำกัด 179 ม. พัทลุง 93110 คุณอนันต์ จันทร์รัตน์ โทร 085-6733315 *อัพเดตล่าสุด 30/09/2563

หมอนและที่นอนยางพาราแท้ ข้อมูลติดต่อสหกรณ์ร้านค้า สหกรณ์การเกษตรบ้านแพรกหา จำกัด 179 ม. 2 ต. แพรกหา อ. ควนขนุน จ. พัทลุง 93110 คุณอนันต์ จันทร์รัตน์ โทร. 085-6733315 408 ผลิตภัณฑ์คนรักสุขภาพ ผลิตจากฟองยางพาราธรรมชาติมีคุณสมบัติพิเศษเฉพาะตัวของหมอน ที่นอนยางพาราซึ่งทำให้ผู้ใช้ได้ประสบการใหม่ของการนอนที่แตกต่าง นุ่มและยืดหยุ่นในแบบของหมอน ที่นอนยางพารา ติดต่อประสานงาน: ฝ่ายกิจการระหว่างประเทศและส่งเสริมธุรกิจการค้า สันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย 13 ถนนพิชัย แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 นางสาวฟ้าขวัญ ขวัญเมือง เจ้าหน้าที่ส่งเสริมธุรกิจการค้า โทร 094-2690450