สมถกรรมฐาน กรรมฐานชนิดนี้เป็นอุบายที่ให้ใจสงบ จิตสงบ บริสุทธิ์ชั่วขณะ คือ ใจที่อบรมในทางสมถะแล้ว จะเกิดนิ่ง และเกาะอยู่กับอารมณ์หนึ่งเพียงอย่างเดียว เช่น การสวดมนต์ การไหว้พระ การนั่ง การเดินจงกรม เป็นต้น มี 7 หมวด ได้แก่ อสุภะ 10 อนุสติ 10 พรหมวิหาร 4 อรูปธรรม เป็นต้น 2. วิปัสสนากรรมฐาน กรรมฐานชนิดนี้เป็นอุบายให้เกิดปัญญา เกิดปัญญาเห็นแจ้ง ทำให้จิตบริสุทธิ์ตลอดไป หมายความว่า เห็นปัจจุบัน เห็นรูปนาม เห็นพระไตรลักษณ์และเห็นมรรคผล นิพพาน มีอารมณ์อยู่กับวิปัสสนาภูมิ 6 อย่าง คือ ขันธ์ 5 อายตนะ 12 ธาตุ 18 อินทรีย์ 22 อริยสัจจ์ 4 ปฏิจจสมุปบาท 12 กรรมฐาน 2 อย่างนี้ต่างกันตรงที่ "อารมณ์สมถกรรมฐาน" เอา "บัญญัติ" เป็นอารมณ์ ส่วนวิปัสสนากรรมฐาน เอา "รูปนาม" เป็นอารมณ์ วิปัสสนากรรมฐาน เป็นเรื่องของการศึกษาชีวิต เพื่อจะปลดเปลื้องความทุกข์นานาประการออกเสียจากชีวิต เป็นเรื่องของการค้นหาความจริงว่า…ชีวิตมันคืออะไรแน่?

วิปัสสนากรรมฐาน : โดย นพ.วิชัย เทียนถาวร

  • อพาร์ทเม้นท์ พร้อม ห้องหัวมุม/แปลงหัวมุม ให้เช่า ใกล้ ตลาดนัดกลางคืนพัลลาเดียม, มักกะสัน
  • สม ถ กรรมฐาน 40.com
  • 30 เมตร - หาดใหญ่, สงขลา
  • สม ถ กรรมฐาน 40 mg
  • เปิดตัวแล้ว! “OPPO A95” รุ่นล่าสุด พร้อม 7 สาว “4EVE” เกิร์ลกรุ๊ปแห่งยุค -

สมถกรรมฐาน 40 กองและคุณความสามารถของกรรมฐานทั้ง 40 กอง กสิน 10 1. ปฐวีกสิน 2. อาโปกสิน 3. เตโชกสิน 4. วาโยกสิน 5. นีละกสิน 6. ปีตะกสิน 7. โลหิตกสิน 8. โอทาตะกสิน 9. อากาสะกสิน 10. อาโลกะกสิน อสุภะ10 1. อุทธมาตถะอสุภะ 2. วินิลกะอสุภะ 3. วิปุพพกะอสุภะ 4. วิฉิททะอสุภะ 5. วิกขายตถะอสุภะ 6. วิกขิตตถะอสุภะ 7. หตวิกขิตตกอสุภะ 8. โลหิตกะอสุภะ 9. ปุฬุวกะอสุภะ 10. อัฎกะอสุภะ อนุสสติ 10 1. พุทธานุสติ คือ การระลึกถึงคุณของพระพุทธเจ้า 2. ธัมมานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณของพระธรรม 3. สังฆานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณของพระสงฆ์ 4. สีลานุสสติ คือ การระลึกถึงศีลของตน 5. จาคานุสสติ คือ การระลึกถึงทานที่ตนบริจาคแล้ว 6. เทวตานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณที่ทำบุคคลให้เป็นเทวดา 7. อุปสมานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณพระนิพพาน ซึ่งเป็นที่ระงับกิเลสและกองทุกข์ 8. มรณานุสสติ คือ การระลึกถึงความตายที่จะมาถึงตน 9. กายคตาสติ คือ ระลึกทั่วไปในกาย ให้เห็นว่าไม่งาม น่าเกลียด 10. อานาปานัสสติ คือ การตั้งสติกำหนดลมหายใจ เข้าออก อัปปมัญญา 4 1. เมตตาอัปปมัญญา 2. กรุณาอัปปมัญญา 3. มุทิตาอัปปมัญญา 4. อุเบกขาอัปปมัญญา อรูป 4 1. อากาสานัญจายตนะ 2.

สม ถ กรรมฐาน 40.fr

สิงห์บุรี โดย พท. วิง รอดเฉย ปี พ. ศ. 2529 ได้กล่าวไว้ว่าการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานนั้น มีประโยชน์มากมายเหลือที่จะนับประมาณได้ จะยกมาแสดงตามที่ปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎก สักเล็กน้อย ดังนี้ คือ 1. สัตตานัง วิสุทธิยา: ทำกายวาจาใจ ของสรรพสัตว์ให้บริสุทธิ์ 2. โสกะปะสิเทวานัง สะมะติกกะมายะ: ดับความเศร้าโศก ปริเทวนาการต่างๆ 3. ทุกขะโทมะนัสสานัง อัตถังคะมายะ: ดับความทุกข์กาย ดับความทุกข์ใจ 4. ญาณัสสะ อะธิคะมายะ: เพื่อบรรลุมรรคผล 5. นิพพานัสสะ สัจฉิกิริยายะ: เพื่อทำนิพพานให้แจ้ง และยังมีอื่นๆ อีกมาก เช่นตัวอย่าง 16 ข้อ ดังนี้ 1. ชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท 2. ชื่อว่าเป็นผู้ป้องกันภัยในอบายภูมิทั้งสี่ 3. ชื่อว่าได้บำเพ็ญไตรสิกขา 4. ชื่อว่าได้เดินสายกลาง คือ มรรค 8 5. ชื่อว่าได้บูชาพระพุทธเจ้าด้วยการบูชาอย่างสูงสุด 6. ชื่อว่าได้บำเพ็ญ ศีล สมาธิ ปัญญา ให้เป็นอุปนิสัยปัจจัยในภายหน้า 7. ชื่อว่าได้ปฏิบัติถูกต้องตามพระไตรปิฎกโดยแท้จริง 8. ชื่อว่าเป็นผู้มีชีวิต ไม่เปล่าประโยชน์ทั้งสาม 9. ชื่อว่าได้เข้าถึงพระรัตนตรัยอย่างถูกต้อง10. ชื่อว่าได้ปฏิบัติเพื่อให้เกิดวิปัสสนาญาณ 16 11. ชื่อว่าได้สั่งสมอริยทรัพย์ไว้ในภายใน 12.

ไม่ห่วงการแสดงฤทธิ์ต่างๆ 23. ไม่ห่วงในการกิน 24. ไม่ห่วงในการนอน การพูด การคุย การเทศนาสั่งสอนคนอื่น การปฏิบัติธรรม คือ ฝึกตัวเองให้เป็นคนดี สร้างพลังจิตให้เป็นอิสระแก่ตัวเอง ไม่ตกอยู่ใต้อำนาจของสิ่งใด นี่คือหลักที่ถูกต้อง

อรูป 4 มีอำนาจส่งผลให้ผู้บำเพ็ญได้ถึงอรูปฌาน 4 (อุคคหนิมิต) ในระดับอัปปนาสมาธิ 5. อัปปมัญญา 4 ทั้งหมด ยกเว้น อุเบกขาอัปปมัญญา มีอำนาจส่งผลให้ผู้บำเพ็ญได้รูปฌานที่ 3 ส่วนอุเบกขาอัปปมัญญา จะได้ปัญจมฌาน ข้อแตกต่างระหว่างอุคคหนิมิตกับปฏิภาคนิมิตคือ อุคคหนิมิต เป็นนิมิตที่มีเพียงการย่อ หรือ ขยาย จำได้ติดตา ติดใจ ส่วนปฏิภาคนิมิต เป็นนิมิตที่สามารถ กำหนดให้มีความสว่าง เห็นรูป ได้ชัดเจน กฎระเบียบของวิปัสสนามี 7 อย่างคือ 1. ห้ามมิให้ปล่อยจิตติดอารมณ์ ภายนอกเกินไป 2. ห้ามไม่ให้จิตห่างจากอารมณ์ คือ อาการไหว อาการนิ่งเกินไป 3. ห้ามไม่ให้ทำความเพียรกล้าหาญเกินไป 4. ห้ามไม่ได้ทำความเพียรอ่อนแอเกินไป 5. ห้ามไม่ได้เพ่งรูปนามในอดีตที่ล่วงไปแล้ว 6. ห้ามไม่ให้เพ่งรูปนามในอนาคตที่ยังมาไม่ถึง 7. ให้เพ่งรูปนามที่เป็นปัจจุบันอย่างเดียว คือ รูปนามที่เกิดขึ้น ปรากฏขึ้นในขณะนั้นที่มีอยู่ ปรากฏอยู่ยังไม่หายในทวารทั้ง 6 ที่เรียกว่า รูปนามที่เป็นปัจจุบัน คือ ขณะกายเคลื่อนไหว และร่างกายนิ่งขณะตาเห็นรูป ขณะหูได้ยินเสียง ขณะจมูกได้กลิ่น ขณะลิ้นได้รส ขณะกายได้สัมผัส เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ขณะจิตนึกคิด นี้แหล่เรียกว่ารูปนาม ที่เป็นปัจจุบัน ข้อห้ามของวิปัสสนา มี 6 ข้อ คือ 1.
สม ถ กรรมฐาน 40 euros
เราจะสกัดกั้นมันได้อย่างไร นั่นแหละ คือ…ผลงานของ "สติ" ภายหลังการได้ทุ่มเทสติสัมปชัญญะลงไปอย่างเต็มที่แล้ว "จิตใจ" ของผู้ปฏิบัติก็จะได้สัมผัสกับ "สัจจะ" แห่งสภาวธรรมต่างๆ อันผู้ปฏิบัติไม่เคยเห็นอย่างซึ้งใจมาก่อน ผลงานอันล้ำค่าของ "สติสัมปชัญญะ" จะทำให้เราเห็นอย่างชัดแจ๋ว ความทุกข์ร้อนนานาประการนั้น มันไหลเข้ามาสู่ชีวิตของเราของท่านทางช่องทวาร 6 ช่องทวาร 6 นั้น นั่นแหละที่เป็น "ต้นตอ ท่อต่อ" หรือ "บ่อเกิด" สิ่งเหล่านั้นคือ "ขันธ์ 5 จิต กิเลส" ผู้เขียนได้อ่านหนังสือ "วิปัสสนากรรมฐาน"เปลี่ยนชีวิตของ "หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม" วัดอัมพวัน อ. พรหมบุรี จ.

ชื่อว่าเป็นผู้มาดีไปดีอยู่ดีกินดีไม่เสียทีที่เกิดมาพบพระพุทธศาสนา 13. ชื่อว่าได้รักษาอมตมรดก พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไว้เป็นอย่างดี 14. ชื่อว่าได้ช่วยกันเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองยิ่งยิ่งขึ้นไปอีก 15. ชื่อว่าได้เป็นตัวอย่างอันดีงามแก่อนุชนรุ่นหลัง 16. ชื่อว่าตนเองได้มีธนาคารบุญติดตัวไปทุกฝีก้าว…. หากจะสรุปให้เห็นเป็นรูปธรรมในความเป็นจริงทั่วๆ ไป ที่เราทราบๆ กันว่า "จิต" เป็น "นาย" "กาย" เป็น "บ่าว" แต่การปฏิบัติธรรมภาวนาจิตใน "วิปัสสนากรรมฐาน" ถือเป็นการฝึกปฏิบัติให้ "สติ" เป็น "นาย" "จิต" (ความคิด) เป็น "บ่าว" เพื่อให้ "สติ" ควบคุม "จิต" ให้ตั้งมั่นนิ่งสงบไม่ได้แส่ออกภายนอกไปจน "อารมณ์" (ที่เกิดจากใจ) เกิด…การสงบอยู่อารมณ์เดียว เกิด "อารมณ์เป็นหนึ่งเดียว" หรืออารมณ์นิ่ง เกิด "สมาธิ" นั่งเอง หรือที่เราคุ้นกับคำว่า "ระลึกรู้สึกลมหายใจเข้า-ออก" หรือ "อานาปนสติ" และก็จะเกิด "ปัญญา" ในที่สุดนั่นเองไงเล่าครับ ท้ายสุดนี้ขอฝาก "คติธรรม" ของหลวงพ่อจรัญฯ วัดอัมพวัน อ. สิงห์บุรี ความว่า… พุทธศาสนา ค่าล้ำเลิศ ประเสริฐยิ่ง เป็นสัจจริง ทุกอย่าง อย่าวางเฉย เมื่อพบแล้ว รัตนะ อย่าละเลย มัวเฉยเมย หมดโอกาส พลาดของดี ประพฤติธรรม สำคัญ อยู่ที่ "จิต" ถ้าตั้งผิด มัวหมอง ไม่ผ่องใส ถ้าตั้งถูก ผุดผ่อง ไม่หมองใจ ตั้ง "สติ" ไว้ ให้คุม "จิต" ไม่ผิดธรรม เราจะสุข หรือทุกข์ เพราะเราสร้าง "กรรม" ต่างหาก ที่เราทำ นำสนอง เราทำดี มีสุขได้ สมใจปอง ทำชั่วต้อง ได้ทุกข์แท้ แน่นอนเอย