บทว่า ททโต แปลว่า ของผู้ให้. ก็เมื่อบุคคลใดในเวลาไถนา คิด อยู่ว่า " เมื่อนานี้สมบูรณ์แล้ว, เราจักถวายภัตทั้งหลาย มีสลากภัต เป็นต้น, " เมื่อข้าวกล้าเผล็ดผลแล้ว, ความตระหนี่เกิดขึ้น ห้ามจิตอัน สัมปยุตด้วยจาคะ, บุคคลนั้น เมื่อจิตสัมปยุตด้วยจาคะ ไม่งอกงามขึ้นได้ ด้วยอำนาจความตระหนี่ ย่อมไม่ได้สมบัติสามอย่าง คือ มนุษย์สมบัติ ทิพยสมบัติ (และ) นิพพานสมบัติ; เพราะฉะนั้น พระศาสดาจึงตรัสว่า " ความตระหนี่เป็นมลทินของผู้ให้. " แม้ในบทอื่น ๆ ซึ่งมีรูปอย่างนี้ ก็ มีนัยเช่นนี้เหมือนกัน. สองบทว่า ปาปกา ธมฺมา ความว่า ก็อกุศลธรรมทั้งหลายเป็น มลทินทั้งนั้น ทั้งในโลกนี้ ทั้งในโลกหน้า. บทว่า ตโต ความว่า กว่า มลทินที่ตรัสแล้ว ในหนหลัง. บทว่า มลตรํ ความว่า เราจะบอกมลทิน อันยิ่งแก่ท่านทั้งหลาย. บทว่า อวิชฺชา ความว่า ความไม่รู้ อันมีวัตถุ ๘ นั่นแล เป็น มลทินอย่างยิ่ง. ( พึงดู อวิชชา ๘ ในธรรมวิภาคปริเฉทที่ ๒ หมวด ๘. ) บทว่า ปหนฺตฺวาน ความว่า ภิกษุทั้งหลาย ท่านทั้งหลายละมลทิน นั่นได้แล้ว ย่อมเป็นผู้หามลทินมิได้. ในกาลจบเทศนา ชนเป็นอันมากบรรลุอริยผลทั้งหลาย มีโสดา- ปัตติผลเป็นต้น ดังนี้แล. เรื่องกุลบุตรคนใดคนหนึ่ง จบ.

แปลเวปภาษาอังกฤษ

บทว่า ปชา เป็นต้น ความว่า สัตว์เหล่านี้เป็นผู้อันตัณหาที่ถึง ซึ่งอันนับว่า " ตสิณา " (ความดิ้นรน) เพราะทำซึ่งความสะดุ้งแวดล้อม คือห้อมล้อมแล้ว. บทว่า พาธิโต ความว่า (สัตว์เหล่านั้น) ย่อมกระเสือกกระสน คือ หวาดกลัว ดุจกระตายตัวที่นายพรานดักได้ในป่าฉะนั้น. บทว่า สํโยชนสงฺคตฺตา ความว่า สัตว์ทั้งหลายเป็นผู้อันสังโยชน์ ๑๐ อย่าง และกิเลสเรื่องข้องคือราคะเป็นต้นผูกไว้แล้ว หรือเป็นผู้ติด แล้วในสังโยชน์เป็นต้นนั้น. บทว่า จิราย ความว่า สัตว์ทั้งหลายย่อมเข้าถึงทุกข์มีชาติเป็นต้น ร่ำไปสิ้นกาลนาน คือตลอดระยะกาลยืดยาว. บทว่า ตสฺมา เป็นต้น ความว่า เพราะสัตว์ทั้งหลายผู้อันตัณหา ซึ่งทำความสะดุ้งล้อมไว้ คือรึงรัดไว้แล้ว, ฉะนั้น เมื่อภิกษุปรารถนา หวังอยู่ซึ่งธรรมที่สิ้นกำหนัด คือพระนิพพาน อันเป็นที่ไปปราศกิเลสมี ราคะเป็นต้นเพื่อตน พึงบรรเทา คือพึงขับไล่นำออกทิ้งเสียซึ่งตัณหาผู้ ทำความสะดุ้งนั้น ด้วยพระอรหัตมรรคนั่นเทียว. ในกาลจบเทศนา ชนเป็นอันมากบรรลุอริยผลทั้งหลาย มีโสดา- ปัตติผลเป็นต้น. นางลูกสุกรแม้นั้นแล จุติจากอัตภาพนั้นแล้ว เกิดในราชตระกูล ในสุวรรณภูมิ, จุติจากอัตภาพนั้นแล้ว เกิดในกรุงพาราณสีเหมือนอย่าง นั้นแหละ, จุติจากอัตภาพนั้นแล้ว เกิดในเรือนพ่อค้าม้าที่ท่าสุปปารกะ, จุติจากอัตภาพนั้นแล้ว เกิดในเรือนของนายเรือที่ท่าคาวิระ, จุติจาก อัตภาพนั้นแล้ว เกิดในเรือนของอิสรชน ในเมืองอนุราธบุรี, จุติจาก อัตภาพนั้นแล้ว เกิดเป็นธิดาในเรือนของกุฏุมพีชื่อสุมนะ ในเภกกันตคาม ในทิศทักษิณของเมืองนั้นแล้ว ชื่อสุมนา ตามชื่อ (ของกุฎุมพีนั้น).

อุจฺจาสยนมหาสยนํ, ที่นั่งที่นอนสูงใหญ่ ๒. อุจฺจสยนมหาสยนสญฺญิตา, รู้ว่าที่นั่งที่นอนสูงใหญ่ ๓. อภิสีทนํ วา อภิปชฺชนํ วา, นั่งหรือนอนลง คำว่า ที่นั่งและที่นอนสูงใหญ่ ในศีลข้อนี้ ท่านหมายเอาที่นั่งและที่นอนที่สูงใหญ่เกินประมาณที่ประดับตกแต่งด้วยเครื่องปูลาดที่วิจิตรงดงาม รวมไปถึงที่นอนที่ยัดด้วยนุ่มและสำลีด้วย ทั้งนี้ก็เพื่อมิให้ยินดีติดใจในความงามและสัมผัสที่อ่อนนุ่มสบายของที่นั่งที่นอนเหล่านั้น (ในพระวินัยว่า ๕๐ เซนติเมตร นับแต่แม่แคร่ คานล่างสุด) ผลหรืออานิสงส์ของศีล ๘ ที่เป็นปัจจุบัน คือ ๑. ทำให้เป็นผู้มีศัตรูน้อย ๒. ทำให้เป็นผู้ไม่มีคดีมาติดพัน (ยกเว้นผู้มีกัมม์เก่าส่งผล) ๓. ทำให้เป็นที่นับถือของผู้อื่น ๔. ทำให้มีชีวิตอย่างสงบภาระในการเป็นอยู่น้อย ๕. ทำให้เป็นผู้ไม่ขาดสติแล้วไปทำความผิดอย่างร้ายแรง ผลในปวัติกาลของศีล ๘ คือ ๑. เมื่อตายแล้วก็เกิดเป็นเทวดาหรือเกิดเป็นมนุษย์เป็นอย่างต่ำ เมื่อเกิดเป็นมนุษย์เมื่อกุศลมีความพร้อมมีโอกาศเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ์ ๒. เมื่อเกิดเป็นเทวดาหรือมนุษย์จะมีรูปร่างสวยงามและไม่พิการ มีอาการและร่างกายครบทุกอย่าง ส่วน ลักษณะเด่นดีอย่างอื่นจะขึ้นอยู่กับกุศลที่ทำพิเศษออกไป ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างอุโบสถศีลกับศีล ๘ ๑.

ธัมมปทัฏฐกถา มรรควรรควรรณนา๕. เรื่องพระโปฐิลเถระ - วิกิซอร์ซ

แปลเวปภาษาอังกฤษ

๕. เรื่องพระโปฐิลเถระ [๒๐๘] ข้อความเบื้องต้น พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเชตวัน ทรงปรารภพระเถระ นามว่าโปฐิละ ตรัสพระธรรมเทศนานี้ว่า " โยคา เว " เป็นต้น. รู้มากแต่เอาตัวไม่รอด ดังได้สดับมา พระโปฐิละนั้นเป็นผู้ทรงพระไตรปิฎกในศาสนาของ พระพุทธเจ้า ๗ พระองค์ บอกธรรมแก่ภิกษุ ๕๐๐ รูป. พระศาสดา ทรงดำริว่า " ภิกษุนี้ ย่อมไม่มีแม้ความคิดว่า ' เราจักทำการสลัดออก จากทุกข์แก่ตน; เราจักยังเธอให้สังเวช. " จำเดิมแต่นั้นมา พระองค์ย่อมตรัสกะพระเถระนั้น ในเวลาที่พระ- เถระมาสู่ที่บำรุงของพระองค์ว่า " มาเถิด คุณใบลานเปล่า, นั่งเถิด คุณ ใบลานเปล่า, ไปเถิด คุณใบลานเปล่า, แม้ในเวลาที่พระเถระลุกไป ก็ ตรัสว่า " คุณใบลานเปล่า ไปแล้ว. " พระโปฐิละนั้นคิดว่า " เราย่อม ทรงไว้ซึ่งพระไตรปิฎกพร้อมทั้งอรรถกถา, บอกธรรมแก่ภิกษุ ๕๐๐ รูป ถึง ๑๘ คณะใหญ่, ก็เมื่อเป็นเช่นนั้น พระศาสดายังตรัสเรียกเราเนือง ๆ ว่า ' คุณใบลานเปล่า ' พระศาสดาตรัสเรียกเราอย่างนี้ เพราะความไม่มี คุณวิเศษ มีฌานเป็นต้นแน่แท้. " ท่านมีความสังเวชเกิดขึ้นแล้ว จึงคิดว่า " บัดนี้ เราจักเข้าไปสู่ป่าแล้วทำสมณธรรม" จัดแจงบาตรและจีวรเอง ทีเดียว ได้ออกไปพร้อมด้วยภิกษุผู้เรียนธรรม แล้วออกไปภายหลังภิกษุ ทั้งหมดในเวลาใกล้รุ่ง.

พระปัญจทีปีกาเถรี - วิกิคำคม

อุโบสถศีล กับ ศีล ๘ มีข้อห้าม ๘ ข้อเหมือนกัน ๒. คำอาราธนา (ขอศีล) แตกต่างกัน ๓. อุโบสถศีล มีวันพระเป็นแดนเกิด สมาทานรักษาได้เฉพาะ วันพระเท่านั้น ส่วนศีล ๘ สมาทานรักษาได้ทุกวัน ๔. อุโบสถศีล มีกำหนดในการรักษาศีลอย่างน้อย ๒๔ ชั่วโมง (วันหนึ่งคืนหนึ่ง) ส่วนศีล ๘ ไม่มีกำหนดในการรักษา ๕. อุโบสถศีล เป็นศีลสำหรับคฤหัสผู้ครองเรือน หรือเป็นศีล ของชาวบ้านผู้บริโภคกาม (กามโภคี) ส่วนศีล ๘ เป็นศีลสำหรับคฤหัสผู้ไม่ครองเรือน เช่น แม่ชี [1] [ เลี่ยงเชียง, พจนานุกรมศัพท์ปาฬิ-ไทย เพื่อการศึกษาค้นคว้า] [2] [พระมหาสมปอง, อภิธานวรรณนาแปล, หน้า ๘๑๓ พ. ศ. ๒๕๕๘] [3] [ วิ. ป. ๘/๑๕๔/๖๐, (ป) (สยามรัฐ)] [4] [มงฺคลตฺถ. ภาค ๒ ข้อ ๑๒๒] [5] [ เลี่ยงเชียง, พจนานุกรมศัพท์ปาฬิ-ไทย เพื่อการศึกษาค้นคว้า] [6] [ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ. ๒๕๕๔] [7] [ ETipitaka Pali-Thai Dict] [8] [ (ป. อ. ปยุตฺโต) พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์, หน้า ๓๙๑ พ. ๒๕๕๑] [9] [ องฺ. ติก. ทุติยปณฺณาสก มหาวคฺคที่ ๒, ๓. เวนาคสูตร] [10] [สมนฺต. ๑/๙๕]:วัตถุประสงค์ของ Dhamma for Living 1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการปฏิบัติธรรม การศึกษาทุกๆ ระดับชนชั้น 2.

ภิกษุทั้งหลายมีพระอานนทเถระเป็นประมุข สดับเรื่องนั้นแล้วได้ ความสังเวชเป็นอันมาก. ราคตัณหาให้โทษมาก พระศาสดา ทรงยังความสังเวชให้เกิดแก่ภิกษุเหล่านั้นแล้ว เมื่อ จะทรงประกาศโทษแห่งราคตัณหา ประทับยืนอยู่ระหว่างถนนนั่นเอง ได้ ทรงภาษิตพระคาถาเหล่านี้ว่า:- ๒. ยถาปิ มูเล อนุปทฺทเว ทเฬฺห ฉินฺโนปิ รุกฺโข ปุนเรว รูหติ เอวมฺปิ ตณฺหานุสเย อนูหเต นิพฺพตฺตติ ทุกฺขมิทํ ปุนปฺปุนํ. ยสฺส ฉตฺตึสตีโสตา มนาปสฺสวนา ภุสา มหา วหนฺติ ทุทฺทิฏฺฐึ สงฺกปฺปา ราคนิสฺสิตา. สวนฺติ สพฺพธี โสตา ลตา อุพฺภิชฺช ติฏฺฐติ ตญฺจ ทิสฺวา ลตํ ชาตํ มูลํ ปญฺญาย ฉินฺทถ. สริตานิ สิเนหิตานิ จ โสมนสฺสานิ ภวนฺติ ชนฺตุโน เต สาตสิตา สุเขสิโน เต เว ชาติชรูปคา นรา. ตสิณาย ปุรกฺขตา ปชา ปริสปฺปนฺติ สโสว พาธิโต สํโยชนสงฺคสตฺตา ทุกฺขมุเปนฺติ ปุนปฺปุนํ จิราย. ตสฺมา ตสิณํ วิโนทเย ภิกฺขุ อากงฺขํ วิราคมตฺตโน. " ต้นไม้ เมื่อรากไม่มีอันตราย ยังมั่นคง ถึง บุคคลตัดแล้ว ย่อมงอกขึ้นได้อีกทีเดียว แม้ฉันใด, ทุกข์นี้ เมื่อตัณหานุสัย อันบุคคลยังขจัดไม่ได้แล้ว ย่อมเกิดขึ้นร่ำไป แม้ฉันนั้น. กระแส (แห่งตัณหา) ๓๖ อันไหลไปในอารมณ์เป็นที่พอใจ เป็นธรรมชาติ กล้า ย่อมมีแก่บุคคลใด, ความดำริทั้งหลายอันใหญ่ อาศัยราคะย่อมนำฉุดบุคคลนั้น ผู้มีทิฏฐิชั่วไป.

ธัมมปทัฏฐกถา มลวรรควรรณนา๕. เรื่องกุลบุตรคนใดคนหนึ่ง - วิกิซอร์ซ

  • คำอ่าน คำแปล และเกณฑ์วินิจฉัย สิกขาบท (ศีล) ข้อ ๑๐ – Dharmaforliving
  • มะเขือยาว ผักสวนครัว สมุนไพร ประโยชน์และโทษ เป็นอย่างไร
  • คำอ่าน คำแปล และเกณฑ์วินิจฉัย สิกขาบท (ศีล) ข้อ ๘ – Dharmaforliving
  • ร 5 ร 9 png
  • ราย ได้ got7 2018 world
  • Starway ขาย ตรง ภาษาอังกฤษ
  • ออลอิงแลนด์ โอเพ่น 2021 – S5SZ
  • ผ้า ตัด ปะ
  • แปล เว ประเทศไทย
  • ราคาน้ํามันพืช แม็คโคร วันนี้
  • แนวทาง royal guard controls and monitors
  • พอ ช เม ดิ ก้า

เผยแพร่: 27 ก. พ. 2565 18:21 ปรับปรุง: 27 ก. 2565 18:21 โดย: ทับทิม พญาไท เปิดฉากสัปดาห์นี้... ก่อนอื่นคงต้องสารภาพกันตรงๆ ว่าออกจะ "เข็มขัดสั้น" หรือแทบ "คาดไม่ถึง" ว่าคุณน้าหมีขาวรัสเซีย ภายใต้การนำของอดีตเคจีบีอย่างท่านประธานาธิบดี "วลาดิมีร์ ปูติน" อะไรจะ "ดุ" เอาเรื่องไปได้ถึงปานนั้น!!!

ดังนี้แล้ว ยัง บริษัท ๔ ให้สังเวชแล้วปรินิพพาน ดังนี้แล. เรื่องนางลูกสุกร จบ. ดูเพิ่ม [ แก้ไข] ธรรมบท ตัณหาวรรค

  1. ช้าง แม่ สา ละคร
  2. ไบ โอ โซล
  3. Cbr 600 ราคา
  4. กระดูก หัก pdf gratis
  5. ไก่ พันธุ์ ดอง เตา
  6. แมนยู พบ คริสตัลพาเลซ
  7. อาหาร เป็ด ไข่ ราคา ถูก ภาษาอังกฤษ
  8. สี ผม สํา ห รับ คน ผิว ค ล้ํา ผู้ชาย เกาหลี
  9. Lenovo 530s ราคา desktop
  10. พร้อมรุก ยัยตุ๊กตาซ้อมรัก my sexdoll
  11. John deere ราคา mowers
  12. โรง พยาบาล ผา ขาว