เป็นการเขียนเพื่อขมวดปมของเรื่องให้ยุติลงให้ตรงตามเป้าหมายที่ต้องการ และตามจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้ เช่น ๑. สรุปให้เห็นความสำคัญของเนื้อเรื่องที่นำเสนอ ๒. สรุปให้เห็นความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์กับชีวิตและสังคม ๓. สรุปเนื้อหาเพื่อโน้มน้าวให้เกิดความร่วมมือในด้านต่างๆ ๔.

เคล็ดลับที่ 1: การเขียนบทสรุปของนวนิยาย

69 สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ในสมมติฐาน สรุปผลการวิจัยที่ปรับปรุงแล้ว บทเรียนวีดิทัศน์แบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การออกแบบผลิตภัณฑ์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี มีประสิทธิภาพเท่ากับ 85. 69 3. การสรุปผลการวิจัยควรใช้ภาษาที่ชัดเจนและรัดกุม บ่งบอกถึงการตอบคำถามของการวิจัยที่ชัดเจนหรือสมมติฐานของการวิจัยที่ตั้งไว้ในบทที่ 1 4. ควรสรุปภาพรวมของผลการวิจัย ไม่ควรยกผลการวิจัยทั้งหมดจากบทที่ 4 มาเขียนสรุปผลการวิจัยและอธิบายปลีกย่อยมากเกินไปจะทำให้สับสนผลการวิจัยได้ 5. กรณีที่ผลการวิจัยได้ผลเหมือนกัน นิสิต นักศึกษาสามารถรวมเป็นข้อเดียวกันก็ได้ เพื่อความกระชับในการเขียนสรุปผลการวิจัย ไม่จำเป็นต้องแยกข้อจนอ่านไม่เข้าใจ ทั้งที่สามารถรวมเป็นข้อเดียวได้ ดังตัวอย่าง จากผลการวิจัยบทที่ 4 พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2 มีความพึงพอใจต่อสภาพการจัดกิจกรรมลูกเสือ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ. ศ. 2544 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงตามค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย 3 อันดับแรก คือ ด้านบุคลากร( = 4. 54) รองลงมาคือ ด้านการจัดกิจกรรม( = 4.

  • บทสรุปแผนธุรกิจ | FullCircle
  • ๗. กลวิธีในการเขียนสรุป - การเขียนสารคดี อ.บุญกว้าง ศรีสุทโธ
  • วิธีการ เขียนบทสรุปในเรียงความ: 11 ขั้นตอน (พร้อมรูปภาพ) - wikiHow

คำแนะนำในการเริ่มต้น: การเขียนบทสรุปผู้บริหารแผนธุรกิจ - แม่แบบตัวอย่าง

คุณจะพิจารณาเรื่องที่น่าสนใจคุณจะเขียนด้วยความปรารถนาที่จะอ่านต้นฉบับหรือไม่?

วิธีการ เขียนบทสรุปในเรียงความ: 11 ขั้นตอน (พร้อมรูปภาพ) - wikiHow

การสรุปผลการวิจัย ควรสรุปตามความมุ่งหมายของการวิจัยและสมมติฐานของการวิจัย ทั้งนี้เพราะสรุปผลการวิจัยจะสามารถเชื่อมโยงหรือแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความมุ่งหมายของการวิจัย สมมติฐานของการวิจัยและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ตัวอย่างเช่น จากวิทยานิพนธ์เรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างการเรียนจากวีดิทัศน์แบบปฏิสัมพันธ์ กับการสอนแบบปกติ เรื่อง การออกแบบผลิตภัณฑ์ กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ของนรินทร์ สุ่มมาตร์ (2548) ความมุ่งหมายของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาบทเรียนวีดิทัศน์แบบปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การออกแบบผลิตภัณฑ์ กลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนจาก การสอนด้วยวีดีทัศน์แบบปฏิสัมพันธ์กับการสอนปกติ เรื่อง การออกแบบผลิตภัณฑ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3. เพื่อเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนจาก การสอนด้วยวีดิทัศน์แบบปฏิสัมพันธ์กับการสอนปกติ เรื่อง การออกแบบผลิตภัณฑ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สมมติฐานของการวิจัย 1.

การเขียนบทความนั้นอาจจะเป็นเรื่องยากสำหรับมือใหม่ ดังนั้นเราจึงมีบทความ เขียนบทสรุปในเรียงความ มาฝากทุกคน ไปดูกันเลยค่าาา 1สิ่งที่ควรทำ เริ่มต้นด้วยการใช้คำเชื่อมประโยค (ไม่จำเป็น). สิ่งนี้จะทำให้ผู้อ่านทราบว่ากำลังอ่านมาถึงย่อหน้าสุดท้ายของเรียงความของคุณและเพื่อเรียกความสนใจจากผู้อ่าน ถึงแม้ว่าเรียงความส่วนใหญ่จะเริ่มย่อหน้าสุดท้ายด้วยคำเชื่อม คุณก็ไม่จำเป็นต้องทำตามหรอก หากคุณคิดว่าคุณเขียนออกมาได้ชัดเจนพอแล้วว่าคุณกำลังจะจบเรื่อง คำเชื่อมเป็นสิ่งที่ไม่ได้จำเป็นเลย สรุปสาระสำคัญต่างๆอย่างสั้นๆ. นำเนื้อหาของประโยคแรกในแต่ละย่อหน้า(ประโยคหลักของคุณ) แล้วนำมาเขียนใหม่โดยใช้สองหรือสามประโยค สิ่งนี้จะทำให้ข้อโต้แย้งในเรื่องที่คุณเขียนดูน่าเชื่อถือขึ้น และคอยเตือนผู้อ่านว่าคุณกำลังพูดหรือโต้แย้งอะไรอยู่ หลีกเลี่ยงการสรุปประเด็นโดยใช้ประโยคเดียวกับที่คุณเขียนมาก่อนหน้านั้น. ข้อความสรุปของคุณต้องสรุปใจความโดยรวมที่คุณต้องการจะสื่อ เพราะฉะนั้นควรจะยาวแค่ไม่กี่บรรทัดเท่านั้น จบให้กระชับและประทับใจที่สุด. ย่อหน้าสรุปของคุณควรจะอยู่ที่ประมาณ 5-7 บรรทัด ถ้าน้อยกว่านี้ คุณก็อาจจะสรุปประเด็นสำคัญของคุณได้ไม่เพียงพอ แต่ถ้าหากมากกว่านี้ คุณก็อาจจะพูดวกไปวนมามากเกินไป จำไว้ว่าการเขียนให้สั้นกระชับแสดงถึงเชาวน์ปัญญา อย่าลืมว่าถ้าคุณมีประโยคใจความหลักของเรื่อง ให้สรุปออกมาในบทสรุปด้วย.

วิธีเขียนบทสรุปอีกวิธีหนึ่งก็คือ การขยายความเกี่ยวข้องของสิ่งที่คุณอภิปรายไปยังบริบท "ภาพรวม" ที่ใหญ่กว่า วิธีนี้จะช่วยให้คนอ่านเข้าใจว่า พวกเขาสามารถนำประเด็นที่คุณเขียนไปใช้กับหัวข้ออื่นได้ ทำให้เรียงความของคุณดูมีจุดมุ่งหมายที่กว้างขึ้น [5] เช่น คุณสามารถขยายเรียงความเรื่อง "Orange is the New Black" ไปถึงวัฒนธรรมการคุมขังในสหรัฐอเมริกาโดยทั่วไปได้ด้วย ขึ้นต้นด้วยคำเชื่อม (ขึ้นอยู่กับบริบท). คำเชื่อมเป็นการส่งสัญญาณบอกให้ผู้อ่านรู้ว่า เรียงความกำลังจะจบแล้วและพวกเขาก็ต้องตั้งใจอ่าน และถึงแม้ว่าเรียงความหลายฉบับจะขึ้นต้นย่อหน้าด้วยคำเชื่อม แต่ก็ไม่จำเป็นถ้าคุณรู้สึกว่ามันชัดเจนอยู่แล้วว่าเรียงความกำลังจะจบ คำเชื่อมที่ใช้อาจเป็นคำที่ง่ายมากๆ ก็ได้ คุณอาจจะเลี่ยงคำที่ใช้บ่อยมากอย่าง "สรุปคือ" "โดยสรุป" หรือ "สุดท้ายแล้ว" เพราะคำเหล่านี้ใช้บ่อยมากจนอาจทำให้ดูซ้ำซากและแข็งทื่อ [6] และเปลี่ยนมาใช้คำที่นิยมน้อยกว่าแต่ก็กระชับ เช่น "กล่าวคือ" สรุปประเด็นหลักสั้นๆ. ลองนำ 2-3 ประโยคแรกของย่อหน้าเนื้อหาแต่ละย่อหน้า (ประโยคใจความหลัก) และเรียบเรียงประเด็นหลักเหล่านั้นใหม่ใน 2-3 ประโยค วิธีนี้เป็นการเน้นความสำคัญของประเด็นในเรียงความ ซึ่งเป็นการเตือนผู้อ่านอีกครั้งว่าคุณกำลังพูดหรือโต้แย้งเรื่องอะไร อย่าสรุปประเด็นตามที่คุณเขียนเป๊ะๆ คนอ่านได้อ่านเรียงความของคุณไปแล้ว เพราะฉะนั้นคุณจึงไม่จำเป็นต้องย้ำทุกประเด็นที่คุณพูด 3 เขียนให้กระชับและตรงจุด.

ถ้าคุณมีประโยคดังกล่าว คุณควรจะพูดถึงในตอนที่คุณจะจบเรื่อง แม้ว่าจะเป็นการพูดถึงแบบผ่านๆก็ตาม ขอให้จำไว้ว่าประโยคใจความหลักคือหัวใจของเรียงความของคุณ คุณเขียนข้อความโต้แย้งเพื่อประโยคนั้น หากว่ามีคนมาอ่านบทสรุปของคุณ แล้วยังไม่รู้ว่าใจความหลักของคุณคืออะไร นั่นแสดงว่าคุณยังถ่ายทอดเนื้อหาได้ไม่ดีพอ ในเวลาเดียวกัน ให้หลีกเลี่ยงการพูดถึงใจความสำคัญแบบเรียบๆ จงหาวิธีที่จะเขียนใจความหลักออกมาให้อย่างน่าสนใจ ใช้ภาษาที่แตกต่าง การพูดถึงใจความหลักอีกครั้งโดยใช้คำที่ซ้ำกันนั้นจะทำให้ผู้อ่านรู้สึกว่าคุณขี้เกียจ พยายามเขียนโดยใช้น้ำเสียงให้น่าเชื่อถือ.